เรื่องงเก่ารากเหง้าไทย” สมานสามัคคีให้มีอยู่ จะสู้ศึกศัตรูทั้งหลายได้ ควรคิดจำนงจงใจ
เป็นไทยจนสิ้นดินฟ้า....
เป็นพระราชนิพนธ์ ของล้นเกล้า ล้นกระหม่อม รัชกาลที่ 6
พระองค์ทรงเป็นห่วงบ้านเมือง ตลอดจนประสกนิกรชาวไทย
ทรงนิพนธ์ไว้เพื่อเป็นเครื่องเตือนสติ เตือนใจให้ศึกษา ความหมายว่าชาติไทย
ไม่ใช่ชาติที่เกิดขึ้นใหม่ เป็นชาติที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน มีภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่เก่าแก่ ตลอดจนประเพณีอันดีงาม
มาตั้งแต่สมัย หลายพันปีมาแล้ว สิ่งเหล่าล้วนเป็นเครื่องยืนยัน เป็นลักษณะพิเศษ
ที่บ่งบอกถึงความเป็นชาติ เป็นเผ่าพันธุ์ อันยาวนาน ถ้าคนยุคปัจจุบันละเลยไม่สืบทอด
ถ่ายทอด สิ่งอันมีคุณค่าเหล่านี้ แล้วก็น่าเสียดาย อย่างยิ่ง
ดังนั้นหน้าที่หลักของ ลูกหลานไทย ต้องถือว่าเป็นหน้าที่ ต้อง อนุรักษ์ รักษา ทำนุและบำรุง พร้อมกับการถ่ายทอด
องค์ความรู้ที่ดีงาม เหล่านี้ ให้เป็นมรดกแก่ลูกหลานสืบไป
เหตุผลสนับสนุนอีกอย่างคือองค์ความรู้ที่ดีงามนี้ เป็นเครื่อง
บ่งบอกถึงความเป็นชาติไทย
ชาติไทยก็เหมือนกับอื่น ๆในโลก ที่มียุคเสื่อม ยุคเจริญ บางครั้งก็ประสบเคราะห์กรรม ล้มลุก ครุกคลาน ถ้าศึกษาประวัติศาสตร์เผ่าไทยแล้ว สิ่งที่ทำให้คนไทยต้องตก ระกำลำบาก การทำมาหากิน ฝืดเคืองนั้น ถ้าสืบค้นแล้ว เนื่องจากเหตุผลเดียว คือ เรื่อง การขาดความสามัคคีภายในชาติ แต่ก็สามารถเอาตัวรอด ผ่านพ้นอุปสรรค ได้หลายครั้ง อย่างครั้งที่ไทย เสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า คนไทยถูกจับไปเป็น เชลยศึก เมืองหงสาวดีจัดงาน บุญประเพณีในงานนั้นมีกิจกรรม จัดรายการชกมวย ระหว่างมวยไทย กับมวยพม่า โดยที่พระเจ้ากรุงอังวะ ก็ทรงเสด็จมาทอดพระเนตรรายการนี้ด้วย ครั้งนั้นมี นักมวยไทยรับอาสาชกกับนักมวย ชาวพม่า ชื่อว่านายขนมต้ม และเขาสามารถ ชกและน็อคคู่ต่อสู้ได้ถึง 10 คน สร้างความพอใจ ในฝีมือการชกแก่พระเจ้ากรุงอังวะเป็นอย่างมาก ถึงขนาดออกปากชมว่า “คนไทย มีพิษอยู่รอบตัว คนเดียวก็สมารถชนะได้ถึง เก้า ถึง สิบคนเช่นนี้ เพราะหัวหน้าไม่ดี จึงเสียบ้านเมืองแก่ข้าศึก ถ้าหัวหน้าดีแล้วไหนเลยจะเสีย กรุงศรีอยุธยา”
ความเดิมตามประวัติศาสตร์ที่พอจะค้นได้นั้น คนไทยเริ่มรวมกลุ่มกันขึ้นหลายกลุ่ม แล้วแต่ละกลุ่มรวมกันจัดตั้งเป็นอาณาจักร เรียกกันว่า ลาว หรืออ้ายลาว ต่อมาถูกพวกจีนรุกราน แย่งชิงที่ทำมาหากินไป ด้วยนิสัยของคนไทยที่รักความสงบ และรักอิสระ จึงจำเป็นต้องถอยร่น พากันอพยพจากถิ่นเดิม ค่อย ๆ เลื่อนลงมาทางตอนใต้เป็นลำดับ การอพยพครั้งนั้น ราวศตวรรษ ที่ 11 เป็นการอพยพครั้งใหญ่ โดยเกิดการพลัดพรากกัน อย่างใหญ่หลวง การอพยพได้บันทึกไว้ว่า แบ่งออกเป็น 2 สาย
สายแรก อพยพลงมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามเส้นทางแม่น้ำสาละวิน โดยมาตั้งมั่นอยู่ที่แคว้นแสนหวีและเรียกตัวเองว่า “ไทยใหญ่” และบางส่วนอพยพเข้ามาจับจองอาณาเขตถึงแค้วนอัสสัมเหนือเรียกตัวเองว่า “ไทยอาหม
สายที่สอง อพยพมาตั้งถิ่นฐานทางตอนใต้ของแม่น้ำโขง เรียกตัวเองว่า “ไทยน้อย” ไทยน้อยกลุ่มนี้แหละที่นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า เป็นบรรพบุรุษของไทยเราในปัจจุบันโดยกลุ่มนี้ได้อพยพจากทางตอนใต้ของจีน บริเวณช่วงอ่าวตังเกี๋ย และบางส่วนก็แยกตัวจากอ่าวตังเกี๋ย เรื่อยมาจนถึง แคว้นโยนก ซึ่งปัจจุบัน ก็คือเมืองเชียงแสน ทางภาคเหนือของไทย
ต่อมาราวพุทธศักราช 1192 การรวมตัวของเผ่าไทยก็ เริ่มขึ้นอีกครั้งนำโดยเจ้าผู้ครองนคร ชื่อ“ขุนหลวง”ส่วนชาวจีนเรียกว่า “สินุโล” สินุโลเป็นนักต่อสู้ รักรบ ที่มีความรอบรู้ ชาญฉลาด จนสามารถรวบรวม คนไทยที่กระจัดกระจาย เป็นกลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ จัดตั้งเป็นอาณาจักรได้ตรงบริเวณแค้วนตาลีฟู ปัจจุบันอยู่ในมณฑล ฮุนหน่ำของของจีน แต่คนไทย เรียกว่า “หนองแส” และเจ้าผู้ครองนครให้เรียกกลุ่มชน ของตนใหม่ว่า “ไทย” ซึ่งแปลว่าอิสระจากการปกครองของเผ่าอื่น แต่ชาวจีนเรียกว่า น่านเจ้า
อาณาจักรหนองแส มีรูปแบบการปกครองที่เข้มแข็ง มั่นคง มีเจ้าผู้ครองอาณาจักรสืบทอดกันมาหลายองค์ แต่ที่มีผลงานเด่นชัดที่สุด คือ พระเจ้า พีล่อโก๊ะ พระองค์ทรงเป็นผู้ที่ มีปรีชาสามารถมีลักษณะด้วยผู้มีบุญญาธิการเต็มเปี่ยม สามารถรวบรม แผ่นดินของแคว้นสิบสองปันนาที่กระจัดกระจายจนเข้าเป็นอาณาจักรเดียวกันได้สำเร็จ พระเจ้า พีล่อโก๊ะได้ปรับปรุงวิธีการปกครอง โดยใส่ใจทำนุบำรุง กองกำลังฝ่ายทหาร ฝ่ายพลเรือน และดูแลราษฎร์อย่างใกล้ชิด ทำให้บ้านเมือง มีความมั่นคงตามลำดับ แต่ก็น่าเสียดายที่ หลังจากบ้านเมืองสงบได้ไม่นานนัก พระเจ้า พีล่อโก๊ะ เริ่มประชวร อาจจะเกิดจากที่ตรากตรำ กรำศึกมานาน ทำให้พระวรกายบอบซ้ำ ในที่สุดพระองค์ ก็ทิวงตค กาลต่อมาเหล่าขุนนาง ฝ่ายทหาร และฝ่ายพลเรือน ที่จงรักภักดี ก็พร้อมใจกัน ส่งเสริม สนับสนุนให้ ราชโอรส ของพระองค์ ที่ชื่อ “โก๊ะล่อฝง” ขึ้นครองเมือง เป็นกษัตริย์ พระเจ้าโก๊ะล่อฝง ได้แสดงถึงความปรีชาสามารถ และความกล้าหาญไม่แพ้ พระบิดาของตนเลย พระองค์ได้ยกทัพไปปราบหัวเมือง ๆ ที่แข็งเมืองเมื่อคราวที่เปลี่ยนแปลงการปกครองได้อย่างราบคาบ สร้างความยำเกรงให้หัวแก่หัวเมืองน้อยใหญ่ ผลงานที่ถือว่าสำคัญที่สุดของพระองค์ก็คือ การนำกองทัพ เข้าตี และยึด แคว้นยูนาน (ฮุนหนำ) ซึ่งเป็นอาณาเขตของจีนได้สำเร็จ ทั้งที่ แคว้นยูนาน เป็นแคว้นที่อุดมสมบูรณ์ ด้วยข้าวปลา อาหาร และมีกองกำลังทหารที่เข้มแข็ง แถมมีกำแพงเมืองที่แน่นหนา เป็นปราการป้องกันเมือง ที่อยากนักที่ศัตรูจะบุกเข้าไป ทำลายได้ง่าย ๆ แต่พระเจ้าโก๊ะล่อฝง ก็ทำสำเร็จ ทำให้กษัติรย์ของจีนในยุคนั้น ไม่พอใจ และแค้นเคืองอย่างมาก แต่ก็ไม่กล้าที่จะนำทัพมาแก้แค้น และทำให้ บ้านเมืองสงบสุข ร่มเย็นเรื่อยมา
ต่อมาในราว พศ. 1322 พระเจ้าโก๊ะล่อฝง ที่ทรงชราภาพมากแล้วก็ทิวงคตในตามอายุขัย อย่างสงบในพระราชวัง นับรวมระยะเวลาการครองราชของพระองค์ ประมาณ 31 ปี เมื่อสิ้นบุญของพระเจ้าโก๊ะล่อฝง ทายาทที่สืบทอดอำนาจต่อจากพระองค์ ไม่สามารถปกครองบ้านเมืองให้สงบร่มเย็นได้ เกิดการอิจฉาริษยา แบ่งพรรคพวก ชิงดี ชิงเด่น คนทำดี หมดกำลังใจ คนไม่มีน้ำใจขึ้นมาเป็นใหญ่แทน คนดีพากันหลีกหนี เข้าไปอยู่ในป่า คนไม่เข้าท่า เข้าเป็นมาเป็นนายแทน อาณาจักรเริ่มอ่อนแอลงเรื่อย ๆ เจ้าผู้ครองอาณาจักรในยุคต่อ ๆ มาใช้นโยบายการบริหารงาน บ้านเมืองที่ผิดพลาด เกิดความแตกแยกไปทุกหัวระแหง แบ่งพวกแบ่ง กลุ่มออกเป็นหลาย ฝ่าย ต่างกลุ่มก็แย่งชิงความเป็นใหญ่ และกอบโกย แย่งชิง ทรัพย์ ของแผ่นดิน ประเพณีราชสำนัก ประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อ ที่เคยปฎิบัติมา ตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษ ขาดการละเลย ขาดการสืบทอดจนค่อย ๆ ถูกวัฒนธรรมของชาวจีน เข้ากลืนกินทุกขณะ แม้แต่สายเลือดไทยในราชสำนัก พวกขุนนางเชื้อสาย เริ่มหายากลงทุกที ประเพณีก็เริ่มปฎิบัติอย่างชาวจีน อาณาจักรไทยเริ่มระสำระสาย หมดอิสระภาพทางการปกครอง และหมดสิ้นความเป็นอาณาจักรไทย มองไปทิศใดก็ถูกวัฒนธรรมจีน แทรกแซงไปทุกระบบ คนไทยถูกกดขี่ ถูกเอาเปรียบ ขาดอิสระภาพทุกอย่าง มีชีวิตที่หดหู่ แก้ไขอะไรไม่ได้จำ ทำตามเงื่อนไขที่เขากำหนด และยอมรับกับชะตากรรมที่ตนเป็นผู้กระทำ อาการของคนไทยในช่วงนั้นเปรียบเหมือนคนเป็นไข้ป่า หมดทางรักษา เยียวยา นอนหายใจรอยริน เป้าหมายที่เดินทางคือ ความตาย เท่านั้นเอง
ชาติไทยก็เหมือนกับอื่น ๆในโลก ที่มียุคเสื่อม ยุคเจริญ บางครั้งก็ประสบเคราะห์กรรม ล้มลุก ครุกคลาน ถ้าศึกษาประวัติศาสตร์เผ่าไทยแล้ว สิ่งที่ทำให้คนไทยต้องตก ระกำลำบาก การทำมาหากิน ฝืดเคืองนั้น ถ้าสืบค้นแล้ว เนื่องจากเหตุผลเดียว คือ เรื่อง การขาดความสามัคคีภายในชาติ แต่ก็สามารถเอาตัวรอด ผ่านพ้นอุปสรรค ได้หลายครั้ง อย่างครั้งที่ไทย เสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า คนไทยถูกจับไปเป็น เชลยศึก เมืองหงสาวดีจัดงาน บุญประเพณีในงานนั้นมีกิจกรรม จัดรายการชกมวย ระหว่างมวยไทย กับมวยพม่า โดยที่พระเจ้ากรุงอังวะ ก็ทรงเสด็จมาทอดพระเนตรรายการนี้ด้วย ครั้งนั้นมี นักมวยไทยรับอาสาชกกับนักมวย ชาวพม่า ชื่อว่านายขนมต้ม และเขาสามารถ ชกและน็อคคู่ต่อสู้ได้ถึง 10 คน สร้างความพอใจ ในฝีมือการชกแก่พระเจ้ากรุงอังวะเป็นอย่างมาก ถึงขนาดออกปากชมว่า “คนไทย มีพิษอยู่รอบตัว คนเดียวก็สมารถชนะได้ถึง เก้า ถึง สิบคนเช่นนี้ เพราะหัวหน้าไม่ดี จึงเสียบ้านเมืองแก่ข้าศึก ถ้าหัวหน้าดีแล้วไหนเลยจะเสีย กรุงศรีอยุธยา”
ความเดิมตามประวัติศาสตร์ที่พอจะค้นได้นั้น คนไทยเริ่มรวมกลุ่มกันขึ้นหลายกลุ่ม แล้วแต่ละกลุ่มรวมกันจัดตั้งเป็นอาณาจักร เรียกกันว่า ลาว หรืออ้ายลาว ต่อมาถูกพวกจีนรุกราน แย่งชิงที่ทำมาหากินไป ด้วยนิสัยของคนไทยที่รักความสงบ และรักอิสระ จึงจำเป็นต้องถอยร่น พากันอพยพจากถิ่นเดิม ค่อย ๆ เลื่อนลงมาทางตอนใต้เป็นลำดับ การอพยพครั้งนั้น ราวศตวรรษ ที่ 11 เป็นการอพยพครั้งใหญ่ โดยเกิดการพลัดพรากกัน อย่างใหญ่หลวง การอพยพได้บันทึกไว้ว่า แบ่งออกเป็น 2 สาย
สายแรก อพยพลงมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามเส้นทางแม่น้ำสาละวิน โดยมาตั้งมั่นอยู่ที่แคว้นแสนหวีและเรียกตัวเองว่า “ไทยใหญ่” และบางส่วนอพยพเข้ามาจับจองอาณาเขตถึงแค้วนอัสสัมเหนือเรียกตัวเองว่า “ไทยอาหม
สายที่สอง อพยพมาตั้งถิ่นฐานทางตอนใต้ของแม่น้ำโขง เรียกตัวเองว่า “ไทยน้อย” ไทยน้อยกลุ่มนี้แหละที่นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า เป็นบรรพบุรุษของไทยเราในปัจจุบันโดยกลุ่มนี้ได้อพยพจากทางตอนใต้ของจีน บริเวณช่วงอ่าวตังเกี๋ย และบางส่วนก็แยกตัวจากอ่าวตังเกี๋ย เรื่อยมาจนถึง แคว้นโยนก ซึ่งปัจจุบัน ก็คือเมืองเชียงแสน ทางภาคเหนือของไทย
ต่อมาราวพุทธศักราช 1192 การรวมตัวของเผ่าไทยก็ เริ่มขึ้นอีกครั้งนำโดยเจ้าผู้ครองนคร ชื่อ“ขุนหลวง”ส่วนชาวจีนเรียกว่า “สินุโล” สินุโลเป็นนักต่อสู้ รักรบ ที่มีความรอบรู้ ชาญฉลาด จนสามารถรวบรวม คนไทยที่กระจัดกระจาย เป็นกลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ จัดตั้งเป็นอาณาจักรได้ตรงบริเวณแค้วนตาลีฟู ปัจจุบันอยู่ในมณฑล ฮุนหน่ำของของจีน แต่คนไทย เรียกว่า “หนองแส” และเจ้าผู้ครองนครให้เรียกกลุ่มชน ของตนใหม่ว่า “ไทย” ซึ่งแปลว่าอิสระจากการปกครองของเผ่าอื่น แต่ชาวจีนเรียกว่า น่านเจ้า
อาณาจักรหนองแส มีรูปแบบการปกครองที่เข้มแข็ง มั่นคง มีเจ้าผู้ครองอาณาจักรสืบทอดกันมาหลายองค์ แต่ที่มีผลงานเด่นชัดที่สุด คือ พระเจ้า พีล่อโก๊ะ พระองค์ทรงเป็นผู้ที่ มีปรีชาสามารถมีลักษณะด้วยผู้มีบุญญาธิการเต็มเปี่ยม สามารถรวบรม แผ่นดินของแคว้นสิบสองปันนาที่กระจัดกระจายจนเข้าเป็นอาณาจักรเดียวกันได้สำเร็จ พระเจ้า พีล่อโก๊ะได้ปรับปรุงวิธีการปกครอง โดยใส่ใจทำนุบำรุง กองกำลังฝ่ายทหาร ฝ่ายพลเรือน และดูแลราษฎร์อย่างใกล้ชิด ทำให้บ้านเมือง มีความมั่นคงตามลำดับ แต่ก็น่าเสียดายที่ หลังจากบ้านเมืองสงบได้ไม่นานนัก พระเจ้า พีล่อโก๊ะ เริ่มประชวร อาจจะเกิดจากที่ตรากตรำ กรำศึกมานาน ทำให้พระวรกายบอบซ้ำ ในที่สุดพระองค์ ก็ทิวงตค กาลต่อมาเหล่าขุนนาง ฝ่ายทหาร และฝ่ายพลเรือน ที่จงรักภักดี ก็พร้อมใจกัน ส่งเสริม สนับสนุนให้ ราชโอรส ของพระองค์ ที่ชื่อ “โก๊ะล่อฝง” ขึ้นครองเมือง เป็นกษัตริย์ พระเจ้าโก๊ะล่อฝง ได้แสดงถึงความปรีชาสามารถ และความกล้าหาญไม่แพ้ พระบิดาของตนเลย พระองค์ได้ยกทัพไปปราบหัวเมือง ๆ ที่แข็งเมืองเมื่อคราวที่เปลี่ยนแปลงการปกครองได้อย่างราบคาบ สร้างความยำเกรงให้หัวแก่หัวเมืองน้อยใหญ่ ผลงานที่ถือว่าสำคัญที่สุดของพระองค์ก็คือ การนำกองทัพ เข้าตี และยึด แคว้นยูนาน (ฮุนหนำ) ซึ่งเป็นอาณาเขตของจีนได้สำเร็จ ทั้งที่ แคว้นยูนาน เป็นแคว้นที่อุดมสมบูรณ์ ด้วยข้าวปลา อาหาร และมีกองกำลังทหารที่เข้มแข็ง แถมมีกำแพงเมืองที่แน่นหนา เป็นปราการป้องกันเมือง ที่อยากนักที่ศัตรูจะบุกเข้าไป ทำลายได้ง่าย ๆ แต่พระเจ้าโก๊ะล่อฝง ก็ทำสำเร็จ ทำให้กษัติรย์ของจีนในยุคนั้น ไม่พอใจ และแค้นเคืองอย่างมาก แต่ก็ไม่กล้าที่จะนำทัพมาแก้แค้น และทำให้ บ้านเมืองสงบสุข ร่มเย็นเรื่อยมา
ต่อมาในราว พศ. 1322 พระเจ้าโก๊ะล่อฝง ที่ทรงชราภาพมากแล้วก็ทิวงคตในตามอายุขัย อย่างสงบในพระราชวัง นับรวมระยะเวลาการครองราชของพระองค์ ประมาณ 31 ปี เมื่อสิ้นบุญของพระเจ้าโก๊ะล่อฝง ทายาทที่สืบทอดอำนาจต่อจากพระองค์ ไม่สามารถปกครองบ้านเมืองให้สงบร่มเย็นได้ เกิดการอิจฉาริษยา แบ่งพรรคพวก ชิงดี ชิงเด่น คนทำดี หมดกำลังใจ คนไม่มีน้ำใจขึ้นมาเป็นใหญ่แทน คนดีพากันหลีกหนี เข้าไปอยู่ในป่า คนไม่เข้าท่า เข้าเป็นมาเป็นนายแทน อาณาจักรเริ่มอ่อนแอลงเรื่อย ๆ เจ้าผู้ครองอาณาจักรในยุคต่อ ๆ มาใช้นโยบายการบริหารงาน บ้านเมืองที่ผิดพลาด เกิดความแตกแยกไปทุกหัวระแหง แบ่งพวกแบ่ง กลุ่มออกเป็นหลาย ฝ่าย ต่างกลุ่มก็แย่งชิงความเป็นใหญ่ และกอบโกย แย่งชิง ทรัพย์ ของแผ่นดิน ประเพณีราชสำนัก ประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อ ที่เคยปฎิบัติมา ตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษ ขาดการละเลย ขาดการสืบทอดจนค่อย ๆ ถูกวัฒนธรรมของชาวจีน เข้ากลืนกินทุกขณะ แม้แต่สายเลือดไทยในราชสำนัก พวกขุนนางเชื้อสาย เริ่มหายากลงทุกที ประเพณีก็เริ่มปฎิบัติอย่างชาวจีน อาณาจักรไทยเริ่มระสำระสาย หมดอิสระภาพทางการปกครอง และหมดสิ้นความเป็นอาณาจักรไทย มองไปทิศใดก็ถูกวัฒนธรรมจีน แทรกแซงไปทุกระบบ คนไทยถูกกดขี่ ถูกเอาเปรียบ ขาดอิสระภาพทุกอย่าง มีชีวิตที่หดหู่ แก้ไขอะไรไม่ได้จำ ทำตามเงื่อนไขที่เขากำหนด และยอมรับกับชะตากรรมที่ตนเป็นผู้กระทำ อาการของคนไทยในช่วงนั้นเปรียบเหมือนคนเป็นไข้ป่า หมดทางรักษา เยียวยา นอนหายใจรอยริน เป้าหมายที่เดินทางคือ ความตาย เท่านั้นเอง
แต่ปัจจุบัน ชาวจีนและชาวไทยได้กลายเป็นเนื้อเดียวกันอย่างแน่นเหนียวไม่มีความแปลกแยกกันเหมือนในอดีต คนไทยส่วนใหญ่กลายเป็นเชื้อสายจีน มีความรักชาติบ้านเมือง ต่างช่วยกันสร้างชาติให้เจริญเรื่อยมา แต่เมื่อก้าวมาถึง พศ. 2555 คนไทยต่างก็เกิดความคิดเห็นต่างกันอย่างรุนแรง เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ แบ่งสีแบ่งข้าง กลายเป็นแดง เป็นเหลือง มีความคิดเกลียดชังกัน ประหนึ่งว่าไม่ใช่พี่น้องกัน ไม่รู้ว่าเมื่อไหร่ ความเข้าใจกัน ความรักกันของคนในชาติจะกลับมา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น